[ใหม่] ป๋ยเขาเพชร
600 ฿
รายละเอียด
ปุ๋ยมูลค้างคาว
1 มีปริมาณความเข้มข้นของธาตุอาหารพืชสูงกว่าปุ๋ยอินทรีย์ชนิดอื่น
2 ปุ๋ยมูลค้างคาวนอกจากจะให้ธาตุอาหารที่เพียงพอแล้ว ยังช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดินด้วยทำให้ดินร่วน ดินซุย
3 ในมูลค้างคาวอุดมไปด้วย ธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม เช่น แคลเซี่ยม แมกนีเซี่ยม กำมะถัน เหล็กแมงกานีส สังกะสี ทองแดง โบรอน และโมลิบดินัม คลอลีน ซึ่งเพียงพอต่อความต้องการของพืชโดยทั่วไป
4 ในมูลค้างคาวมีธาตุอาหารฟอสฟอรัสมากเป็นพิเศษ จึงเหมาะสมกับการนำมาใช้ทั้งใน พืชผัก พืชสวน พืชไร่ และไม้ดอก ไม้ประดับ จ ช่วยเพิ่มในเรื่องของ สีสัน รสชาติ และเพิ่มผลผลิตได้อย่างดี
ส่วนประกอบสำคัญในการผลิตปุ๋ย
1 วัตถุดิบมูลค้างคาว
มูลค้างคาวจำนวนมหาศาลที่บริษัทฯได้รับสัมปทานถ้ำค้างคาวนั้น สามารถนำมาผลิตปุ๋ยที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องเพียงพอต่อความต้องการ ซึ่งคุณสมบัติพิเศษของมูลค้างคาวเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามีประโยชน์ต่อพืชมากมาย อุดมไปด้วยธาตุอาหารครบตามที่พืชต้องการ และพืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างสมบูรณ์
2 สารอาหารนำเข้าจากประเทศญี่ปุ่น
เป็นวัตถุดิบชั้นเยี่ยมอีกชนิดหนึ่งที่มีคุณค่าต่อการเจริญเติบโตของพืชเป็นอย่างมาก ซึ่งทางบริษัทฯได้นำมาเป็นส่วนผสมในการผลิตุ๋ยด้วยเช่นกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเป็นเท่าทวีคูณ เพราะสารอาหารดังกล่าวมีธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และธาตุอาหารเสริม รวมทั้งฮิวมัส ฮิวมิค อะมิโน สารอาหารชนิดนี้เป็นเคมีธรรมชาติ ที่เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตอาหารของประเทศญี่ปุ่น รัฐบาลไม่ได้ตีค่าเป็นเคมี แต่ด้วยคุณค่านั้นเหนือกว่าเคมีนำเข้าโดยทั่วไป การลดปล่อยต่างกัน ให้คุณค่าที่สูงกว่า พืชจึงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ดีกว่า
3 จุลินทรีย์สายพันธุ์พิเศษนำเข้าจากประเทศอิสราเอล
เป็นอีกส่วนผสมหนึ่งที่ใช้ในกระบวนการผลิตปุ๋ยของทางบริษัทฯ จุลินทรีย์สายพันธุ์นี้ มีคุณสมบัติพิเศษหลายประการ สามารถทำลายเชื้อโรคซึ่งเป็นสาเหตุของรากเน่า โคนเน่า ในพืชทุกชนิด ช่วยพัฒนาระบบราก ปรับสภาพดินที่เสียให้ร่วนซุย ปรับค่า PH ของดินให้เหมาะสม
อัตราและวิธีการใช้
ชนิดพืช : นาข้าว
ระยะที่ใช้ : ระยะแรก15
ระยะที่ใช้ : ระยะแรก 50
ชนิดพืช : ข้าวโพด
ระยะที่ใช้ : ระยะพร้อมปลูก อัตราการใช้ : 50
ระยะที่ใช้ : ระยะแรก20
ชนิดพืช : ส้ม มะนาว มะม่วง เงาะ ทุเรียน มังคุด ลำไย ลิ้นจี่ ลองกอง ฝรั่ง ชมพู่ องุ่น ปาล์ม
ระยะที่ใช้ : มีผลแล้ว อัตราการใช้ : 3
ระยะที่ใช้ : ยังไม่มีผล อัตราการใช้ : 2
ชนิดพืช : ยางพารา
ระยะที่ใช้ : กรีดแล้วต้น , ปลายฝน อัตราการใช้ : 1
ระยะที่ใช้ : ยางเล็ก ต้น, ปลายฝน อัตราการใช้ : 0.5 กก.ต่อต้น /ครั้ง วิธีการใช้ : โรยขนานแถว
ชนิดพืช : อ้อย มัน สับปะรด
ระยะที่ใช้ : ใช้รองพื้นก่อนปลูก อัตราการใช้ : 50
ระยะที่ใช้ : พืชอายุ 1
ชนิดพืช : พริก หอม กระเทียม แตง ถั่ว สตอเบอรี่
ระยะที่ใช้ : ใช้รองพื้นระยะให้ผล อัตราการใช้ : 50
ชนิดพืช : ผักทุกชนิด ยาสูบ
ระยะที่ใช้ : ใช้รองพื้น อัตราการใช้ : 50
เทคนิคการเพิ่มผลผลิตในนาข้าว
เทคนิคการเพิ่มผลผลิตในนาข้าว 1,500 กก.ต่อไร่
* หลังจากเมื่อข้าวอายุ 25
อัตรา 40 กก.ต่อไร่ ช่วยบำรุงต้น ขยายกอ ทำให้ต้นแข็ง ใบตั้ง ต้านทานโรคแมลง และเมื่ออายุข้าวประมาณ 35
* เมื่ออายุข้าวได้ 60
อัตรา 40 กก.ต่อไร่ ช่วยบำรุงต้นข้าว ทำให้ต้นข้าวสมบูรณ์ ในช่วงข้าวตั้งท้องอ่อนๆควรใช้
* ในช่วงข้าวเริ่มออกรวงประปลาย( หว่านรับรวง( หว่านปุ๋ยรอบสาม )) หว่านปุ๋ยอินทรีย์เคมี 6 - 3 - 3
อัตรา 20 กก.ต่อไร่ ช่วยบำรุงต้น สะสมอาหารสร้างรวง
สรุปการใช้ปุ๋ยและฮอร์โมนพืชในนาข้าว
หว่านปุ๋ยอินทรีย์เคมี 6 - 3 - 3 จำนวน 3 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 ช่วงข้าวอายุ 25
ครั้งที่ 2 ช่วงข้าวอายุ 60
ครั้งที่ 3 ช่วงข้าวเริ่มออกรวงประปลาย อัตรา 20 กก.ต่อไร่
สรุปผลจากการใช้ในนาข้าว
1 ราก ทำให้รากยาว ขาวอวบ พืชหาอาหารได้ดีกว่า ทำให้เจริญเติบดตได้ดี
2 แตกกอดี ช่วยเพิ่มการแตกกอ เพิ่มจำนวนต้น รวงที่มากขึ้น ทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น
3 เขียว ข้าวเขียวทนเขียวนานกว่าใช้ปุ๋ยเคมี ข้าวเริ่มเขียวพร้อมกัน เขียวเสมอกัน
4 ต้นเขียวใบตั้ง ลำต้นแข็งแรง ข้าวไม่ล้ม ช่วยต้านทานโรคและแมลงได้ดี ช่วยลดค่ายาฆ่าแมลงลงได้
5 ข้าวรวงใหญ่ รวงยาว เมล็ดข้าวแกร่ง ไม่ลีบ น้ำหนักดี ข้าวสุกแก่พร้อมกัน ไม่โดนตัดราคา
6 ขั้วเหนียว ข้าวไม่หลุดร่วงง่าย ลดการสูญเสียผลผลิต ทำให้ได้ผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้น
7 ข้าวสุกก่อน เก็บเกี่ยวผลผลิตได้ก่อน ช่วยลดต้นทุนค่าสูบน้ำเข้านา
8 ช่วยปราบหอยเชอรี่ได้ ช่วยลดต้นทุนค่ายาปราบหอย
9 ดินเป็นหล่ม สภาพดินดี มีธาตุอาหารอุดมสมบูรณ์ ปุ๋ยมูลค้างคาวสามารถปลดปล่อยธาตุอาหารได้ดีกว่าและนานกว่าปุ๋ยเคมี ทำให้ธาตุอาหารในดินมีมาก สังเกตจากใบธงเขียวยันวันเกี่ยว ช่วยปรับโครงสร้างดิน ฟื้นฟูสภาพดิน ทำให้ดินดีขึ้น
เทคนิคการเพิ่มผลผลิตในไม้ผล
เทคนิคการเพิ่มผลผลิตในไม้ผล เช่น ส้ม ลิ้นจี่ ลำไย มะม่วง ทุเรียน เงาะ เป็นต้น
*ระยะยังไม่มีผล ควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์เคมี 6 - 3 - 3 อัตรา 2
*ระยะมีผลแล้ว ควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์เคมี 6 - 3 - 3 อัตรา 3
เทคนิคการเพิ่มผลผลิตในยางพารา
*ในยางเล็กก่อนเปิดกรีด( ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 1 ช่วงต้นฝน ) ควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์เคมี 6 - 3 - 3
อัตรา 0.5 กก./ต้น /ครั้ง ช่วยเร่งต้น ทำให้ยางโตไว ใบใหญ่ ใบหนา ใบมัน ต้นยางสมบูรณ์มาก แทงฉัตร 60
*ในยางเล็กก่อนเปิดกรีด( ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 ช่วงปลายฝน ) ควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์เคมี 6 - 3 - 3
อัตรา 0.5 กก./ต้น /ครั้ง ช่วยเร่งต้น ทำให้ยางโตไว ใบใหญ่ ใบหนา ใบมัน ต้นยางสมบูรณ์มาก แทงฉัตร 60
*ในยางเปิดกรีด( ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 1 ช่วงต้นฝน ) ควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์เคมี 6 - 3
ป้องกันยางหน้าตาย ช่วยขยายท่อน้ำยาง ทำให้เปลือกยางนิ่ม กรีดง่าย ปริมาณน้ำยางเพิ่มขึ้น เปอร์เซ็นน้ำยางสูง
*ในยางเปิดกรีด( ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 ปลายฝน ) ควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์เคมี 6 - 3
ป้องกันยางหน้าตาย ช่วยขยายท่อน้ำยาง ทำให้เปลือกยางนิ่ม กรีดง่าย ปริมาณน้ำยางเพิ่มขึ้น เปอร์เซ็นน้ำยางสูง
ราคา 600 บาท