[ใหม่] การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยา cefotaxime, doxycycline และ penicillin G

655 สัปดาห์ ที่แล้ว - นครนายก - คนดู 265
  • การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยา cefotaxime, doxycycline และ penicillin G รูปที่ 1
  • การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยา cefotaxime, doxycycline และ penicillin G รูปที่ 2
  • การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยา cefotaxime, doxycycline และ penicillin G รูปที่ 3
รายละเอียด
รวมวิธีลดพุง ลดต้นขา ลดต้นแขน วิธีลดน่องและสะโพก


การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยา cefotaxime, doxycycline และ penicillin G ในการรักษา ผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสที่มีอาการรุนแรง


Title:     การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยา cefotaxime, doxycycline และ penicillin G ในการรักษา ผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสที่มีอาการรุนแรง
Author:     ยุพิน ศุพุทธมงคล
Description:


การศึกษาทางคลินิกเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลและความปลอดภัยของการรักษา ผู้ป่วยที่มีภาวะไข้เฉียบพลันและสงสัยโรคเลปโตสไปโรสีสที่มีอาการรุนแรงด้วย ยาด็อกซี่ซัยคลิน และยาเส็พโฟแท็กซีม กับยาเพ็นนิซิลิน ที่โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี จังหวัดอุดรธานี โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา โรงพยาบาลเลย จังหวัดเลย และโรงบ้านใหม่ไชยพจน์ จังหวัดบุรีรัมย์ ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2544 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2545 มีผู้ป่วยในโครงการทั้งสิ้น 540 รายและเสียชีวิต 26 ราย (ร้อยละ 4.8) ในจำนวนนี้เป็นผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสีสจำนวน 252 ราย ผลการรักษาด้วยยาทั้ง 3 ชนิด (อัตราตาย ระยะเวลาที่หายไข้หรือระยะเวลาที่การทำงานของตับหรือไต กลับเป็นปรกติหลังการรักษา) ไม่แตกต่างกันทั้งในกลุ่มผู้ป่วยทั้งหมดและผู้ป่วยที่เป็นโรคเลปโตสไปโรสี สเท่านั้น อย่างไรก็ตามพบว่า ยาด็อกซี่ชัยคลินให้ผลการรักษาดีกว่ายาเพ็นนิซิลินในผู้ป่วยที่เป็นโรคสครับ ทัยฟัสที่ได้รับการวินิจฉัยทางคลินิกเมื่อแรกรับไว้ในโรงพยาบาลว่าเป็นโรค เลปโตสไปโรซีส โดยสรุปการศึกษาครั้งนี้พบว่า ยาด็อกซี่ชัยคลิน และยาเส็พโฟแท็กซีม เป็นยาที่สามารถเลือกใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสีสแทนยาเพ็นนิซิลิ นได้อย่างมีประสิทธิภาพ An open label randomized comparison of parenteral doxycycline, cefotaxime, and penicillin G in suspected severe leptospirosis was conducted in 540 patients admitted to four hospitals in North Eastern Thailand. Of these 252 (47%) had serological or culture confirmed leptospirosis. Overall mortality was 4.8%. There were no significant different between the antibiotics in mortality, defervescence or time to resolve laboratory overall, or in the subgroup of patients with confirmed leptospirosis. Rickettsial infection was diagnosed in 132 patients, and in these patients doxycycline was superior to penicillin. Doxycycline or cefotaxime are satisfactory alternatives to penicillin for treatment of severe leptospirosis.